วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552
สรุปการเรียนสัแดห์ที่1
วันนี้ได้ทำบล็อกเป็นครั้งที่ 2 ค่ะ เกือบจำรหัสผ่านไม่ได้แน่ะ นานเหลือเกิน อาจาย์ให้หาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ตอนแรกคิดว่าอาจารย์จะให้ทำในhi5 แต่มีเพื่อนบอกข้อดีของบล็อก ก็เลยได้ทำในบล็อกค่ะ ทำไปทำมาเกิดอาการงงนิดหน่อยแต่ก็สนุกดีค่ะ
สรุปการเรียนสัแดห์ที่2
วันนี้เรียนเป็นวันที่ 2 ของเทอมนี้ ในวิชา คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย อาจารย์ จ๋า บอกให้หาเพลง หรือแต่งเพลง แต่งนิทาน แล้วให้นำไปลงบล็อกและทำบล็อกเพิ่มเติม
สรุปการเรียนสัแดห์ที่3
วันนี้อาจารย์สอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยว่า เป็นของใกล้ตัว เป็นเรื่องง่ายๆ ซึ่งเด็กสามารถเรียนรู้เป็นกระบวนการได้โดยที่บุรณาการผ่านเรื่องใกล้ตัวต่างๆเช่น การตวง การนับหรือแม้แต่การวัด เป็นต้น คณิตศาสตร์ไม่ได้แต่เป็นการที่จะให้เด็กบวกเลขเพียงอย่างเดียวแต่จะให้เด็กสามมารถเปรีบยเทียบ และรู้จักขนาด และสี เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งของใกล้ตัว ที่เด็กพบเห็นได้ในชีวิตประจำวันและสามารถนำไปต่อยอดในการเรียนต่อไป
สรุปการเรียนสัปดาห์ที่4
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับลักษณะหลักสูตรที่ดี คือ1.เน้นกระบวนการคิดและการพัฒนาความคิดรวบยอด2.เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์เกี่ยวกัยกิจกรมมในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่อง3.แนะนำคำศัพท์ใหม่ๆและลักษณะอย่างค่อยเป็นค่อยไป4.สร้างเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าข้อมูลเพื่ออให้ได้คำตอบ5.ส่งเสริมให้เด้กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม6.เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดมีทักษะคณิตศาสตร์ไปพร้อมๆกัน7.เปิดให้เด้กได้ค้นคว้าสำรวจ ปฎิบัติรู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง
สรุปการเรียนสัปดาห์ที่
วันนี้อาจารย์ให้เขียนแผนการสอนหน่วยของแต่ละกลุ่มใส่ใน MindMap ส่งทางเมล์ มี ลักษณะสี รูปร่าง รูปทรง ผิวสัมผัส ส่วนประกอบ รสชาติ ประโยชน์ โทษ การเก็บรักษาส่งเมล์ให้อาจารย์จ๋า คราวหน้าให็นำเกมมาส่งด้วย6
สรุปการเรียนสัปดาห์ที่8
วันนี้ส่งเกม แต่อาจารย์ให้เอาไปแก้บ้างส่วนค่ะแล้วให้เพื่อนที่ยังไม่ได้ส่งงานอาจารย์ให้ทำส่งอาจารย์ด้วย
สรุปการเรียนสัแดห์ที่9
วันนี้อาจารย์อธิบายวิธีการสอนของแต่ละวันสอนในหน่วยเสริมประสบการณ์ ว่าต้องมีอะไรบ้าง จะสอนเด็กในแต่ละหน่วยของแต่ละกลุ่ม การสอนของแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน เด็กได้สาระอะไรในการสอนบ้าง การสอนแบบใช้คำถามปลายเปิด ในการสอนควรมี การเตรียมความพร้อม วางแบบแผน เตรียมอุปกรณ์ในการสอนให้เหมาะสม
ขอบข่ายกิจกรรมแอปเปิ้ล
ขอบข่ายกิจกรรมแอปเปิ้ล
1. การนับ(counting)
- ให้เด็กนับจำนวนแอปเปิ้ล
- ให้เด็กนับราคาของแอปเปิ้ล
2. ตัวเลข(Numeration)
- ให้เด็กหยิบตัวเลขที่จะซื้อแอปเปิ้ล
3. จับคู่(Matching)
- ให้เด็กจับคู่สีของแอปเปิ้ล
- ให้เด็กจับคู่ขนาดของแอปเปิ้ล
- ให้เด็กจับคู่จำนวนของแอปเปิ้ล
4. การจัดประเภท(Classification)
- ให้เด็กแยกแอปเปิ้ลที่มีสีเดียวกัน
- ให้เด็กแยกขนาดของแอปเปิ้ล
- ให้เด็กแยกจำนวนของแอปเปิ้ล
5. การเปรียบเทียบ(Comparing)
- ให้เด็กเปรียบเทียบแอปเปิ้ลที่มีขนาดเล็ก
- ใหญ่
6. การจัดลำดับ(Ordering)
- ให้เด็กเรียงลำดับรูปภาพขนาดของแอปเปิ้ลที่มีขนาดเล็กที่สุด ไปหาแอปเปิ้ลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
7. รูปทรงและเนื้อที่(Shape and Space)
8. การวัด(Measurement
)- ให้เด็กชั่งน้ำหนักแอปเปิ้ล โดยใช้สองมือเด็กในการประมาณค่าน้ำหนัก ของแอปปเปิ้ลแต่ละลูก
9. เซท(Set)
- ให้เด็กแยกแอปเปิ้ลสีแดงกับสีเขียว
10. เศษส่วน(Fraction)
- ให้เด็กแบ่งแอปเปิ้ล 1 ลูกเป็น 4 ชิ้นเท่าๆกัน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
- ให้เด็กเลือกแอปเปิ้ลตามขนาดที่ครูกำหนด
- ให้เด็กเลือกแอปเปิ้ลตามสีที่ครูกำหนด
12. การอนุรักษ์(Conservation)
- ครูถามเด็กว่า แอปเปิ้ล 1 ลูก ที่นำมาบดละเอียด กับแอปเปิ้ล 1 ลูก ที่ไม่ได้บด มีปริมาณเท่ากันหรือไม่อย่างไร
1. การนับ(counting)
- ให้เด็กนับจำนวนแอปเปิ้ล
- ให้เด็กนับราคาของแอปเปิ้ล
2. ตัวเลข(Numeration)
- ให้เด็กหยิบตัวเลขที่จะซื้อแอปเปิ้ล
3. จับคู่(Matching)
- ให้เด็กจับคู่สีของแอปเปิ้ล
- ให้เด็กจับคู่ขนาดของแอปเปิ้ล
- ให้เด็กจับคู่จำนวนของแอปเปิ้ล
4. การจัดประเภท(Classification)
- ให้เด็กแยกแอปเปิ้ลที่มีสีเดียวกัน
- ให้เด็กแยกขนาดของแอปเปิ้ล
- ให้เด็กแยกจำนวนของแอปเปิ้ล
5. การเปรียบเทียบ(Comparing)
- ให้เด็กเปรียบเทียบแอปเปิ้ลที่มีขนาดเล็ก
- ใหญ่
6. การจัดลำดับ(Ordering)
- ให้เด็กเรียงลำดับรูปภาพขนาดของแอปเปิ้ลที่มีขนาดเล็กที่สุด ไปหาแอปเปิ้ลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
7. รูปทรงและเนื้อที่(Shape and Space)
8. การวัด(Measurement
)- ให้เด็กชั่งน้ำหนักแอปเปิ้ล โดยใช้สองมือเด็กในการประมาณค่าน้ำหนัก ของแอปปเปิ้ลแต่ละลูก
9. เซท(Set)
- ให้เด็กแยกแอปเปิ้ลสีแดงกับสีเขียว
10. เศษส่วน(Fraction)
- ให้เด็กแบ่งแอปเปิ้ล 1 ลูกเป็น 4 ชิ้นเท่าๆกัน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
- ให้เด็กเลือกแอปเปิ้ลตามขนาดที่ครูกำหนด
- ให้เด็กเลือกแอปเปิ้ลตามสีที่ครูกำหนด
12. การอนุรักษ์(Conservation)
- ครูถามเด็กว่า แอปเปิ้ล 1 ลูก ที่นำมาบดละเอียด กับแอปเปิ้ล 1 ลูก ที่ไม่ได้บด มีปริมาณเท่ากันหรือไม่อย่างไร
แผนการสอน
แผนการสอน หน่วยแอปเปี้ล
(วันที่1)
กิจกรรม รู้เรื่องแอปเปิ้ลกันเถอะ
ผู้สอน นางสาวสายใจ อาชีวะ
จุดประสงค์
เพื่อให้เด็กบอกชื่อ ลักษณะ สี รูปร่าง ขนาดของแอปเปิ้ลได้
สาระสำคัญ
เด็กได้เปรียบเทียบลักษณะ รูปร่าง ขนาดของแอปเปิ้ล
เนื้อหา
การเรียนรู้เรื่องชื่อ ลักษณะ สี รูปร่าง ขนาดของแอปเปิ้ล
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูนำปริศนาคำทายมาทายเด็กๆ ดังนี้
- อะไรเอ่ย ผลไม้อะไรที่สโนไวท์ชอบทาน?
ขั้นสอน
2. ครูนำแอปเปิ้ลใส่ตระกร้า แล้วให้เด็กๆทายว่า อะไรอยู่ในตระกร้า
3. ครูเปิดผ้าคลุมออก แล้วให้เด็กนับแอปเปิ้ลในตะกร้า
4. ครูให้เด็กแยกสีแอปเปิ้ลและเปรียบเทียบจำนวนแอปเปิ้ล
5. ครูให้เด็กเปรียบเทียบขนาดของแอปเปิ้ล
6. ครูให้เด็กเรียงลำดับขนาดของแอปเปิ้ล
ขั้นสรุป
ครูและเด็กสนทนาและเปรียบเทียบลักษณะของแอปเปิ้ล
สื่อ
แอปเปิ้ล
การประเมินผล
1. สังเกตการตอบคำถาม
2. สังเกตการร่วมกิจกรรม
(วันที่1)
กิจกรรม รู้เรื่องแอปเปิ้ลกันเถอะ
ผู้สอน นางสาวสายใจ อาชีวะ
จุดประสงค์
เพื่อให้เด็กบอกชื่อ ลักษณะ สี รูปร่าง ขนาดของแอปเปิ้ลได้
สาระสำคัญ
เด็กได้เปรียบเทียบลักษณะ รูปร่าง ขนาดของแอปเปิ้ล
เนื้อหา
การเรียนรู้เรื่องชื่อ ลักษณะ สี รูปร่าง ขนาดของแอปเปิ้ล
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูนำปริศนาคำทายมาทายเด็กๆ ดังนี้
- อะไรเอ่ย ผลไม้อะไรที่สโนไวท์ชอบทาน?
ขั้นสอน
2. ครูนำแอปเปิ้ลใส่ตระกร้า แล้วให้เด็กๆทายว่า อะไรอยู่ในตระกร้า
3. ครูเปิดผ้าคลุมออก แล้วให้เด็กนับแอปเปิ้ลในตะกร้า
4. ครูให้เด็กแยกสีแอปเปิ้ลและเปรียบเทียบจำนวนแอปเปิ้ล
5. ครูให้เด็กเปรียบเทียบขนาดของแอปเปิ้ล
6. ครูให้เด็กเรียงลำดับขนาดของแอปเปิ้ล
ขั้นสรุป
ครูและเด็กสนทนาและเปรียบเทียบลักษณะของแอปเปิ้ล
สื่อ
แอปเปิ้ล
การประเมินผล
1. สังเกตการตอบคำถาม
2. สังเกตการร่วมกิจกรรม
(วันที่ 2 )
ชื่อกิจกรรม ส่วนประกอบของแอปเปิ้ล
ผู้สอน นางสาวกนกวรรณ ไข่ติยากุล
จุดประสงค์
เพื่อให้เด็กรู้จักส่วนประกอบต่าง ๆ ของแอปเปิ้ลสาระสำคัญเด็กรู้ส่วนประกอบต่างๆของแอปเปิ้ลเนื้อหา
การเรียนรู้ส่วนต่างๆของแอปเปิ้ล เปลือก เนี้อ เมล็ด
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงและทำท่าประกอบเพลง แอปเปิ้ล มะละกอ กล้วย ส้ม
ขั้นสอน
2. ครูใช้คำถามถามเด็กดังนี้
- เด็กๆค่ะแอปเปิ้ลที่ครูนำมามีกี่สีค่ะ
- เด็กๆคิดว่าข้างในแอปเปิ้ลมีสีอะไรบ้างค่ะ
- เด็กๆคิดว่าข้างในแอปเปิ้ลมีอะไรบ้างค่ะ
- เด็กๆคิดว่าข้างในแอปเปิ้ลทั้งสองสีเหมือนหรือต่างกันอย่างไรค่ะ
- เด็กๆคิดว่าแอปเปิ้ลมีรสชาติอะไรบ้างค่ะ
- เด็กๆจะให้ครูผ่าแอปเปิ้ลกี่ครั้งค่ะ
- เด็กๆจะแบ่งแอปเปิ้ลเป็นกี่ชิ้นดีค่ะ
3. ครูให้เด็กทานแอปเปิ้ลโดยที่ครูแบ่งให้เด็ก
ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับส่วนประกอบและรสชาติของแอปเปิ้ล
สื่อ
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. แอปเปิ้ล
3. เคียง
4. มีด
5. จาน
6. ช้อน ส้อม
การประเมินผล
1. สังเกตการตอบคำถาม
2. สังเกตการแสดงความคิดเห็น
ชื่อกิจกรรม ส่วนประกอบของแอปเปิ้ล
ผู้สอน นางสาวกนกวรรณ ไข่ติยากุล
จุดประสงค์
เพื่อให้เด็กรู้จักส่วนประกอบต่าง ๆ ของแอปเปิ้ลสาระสำคัญเด็กรู้ส่วนประกอบต่างๆของแอปเปิ้ลเนื้อหา
การเรียนรู้ส่วนต่างๆของแอปเปิ้ล เปลือก เนี้อ เมล็ด
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงและทำท่าประกอบเพลง แอปเปิ้ล มะละกอ กล้วย ส้ม
ขั้นสอน
2. ครูใช้คำถามถามเด็กดังนี้
- เด็กๆค่ะแอปเปิ้ลที่ครูนำมามีกี่สีค่ะ
- เด็กๆคิดว่าข้างในแอปเปิ้ลมีสีอะไรบ้างค่ะ
- เด็กๆคิดว่าข้างในแอปเปิ้ลมีอะไรบ้างค่ะ
- เด็กๆคิดว่าข้างในแอปเปิ้ลทั้งสองสีเหมือนหรือต่างกันอย่างไรค่ะ
- เด็กๆคิดว่าแอปเปิ้ลมีรสชาติอะไรบ้างค่ะ
- เด็กๆจะให้ครูผ่าแอปเปิ้ลกี่ครั้งค่ะ
- เด็กๆจะแบ่งแอปเปิ้ลเป็นกี่ชิ้นดีค่ะ
3. ครูให้เด็กทานแอปเปิ้ลโดยที่ครูแบ่งให้เด็ก
ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับส่วนประกอบและรสชาติของแอปเปิ้ล
สื่อ
1. เครื่องเคาะจังหวะ
2. แอปเปิ้ล
3. เคียง
4. มีด
5. จาน
6. ช้อน ส้อม
การประเมินผล
1. สังเกตการตอบคำถาม
2. สังเกตการแสดงความคิดเห็น
(วันที่ 3)
กิจกรรม แอปเปิ้ลมาจากไหน
ผู้สอน นางสาวสุวารี หอมรองบน
จุดประสงค์
1. ร่วมสนทนาและตอบคำถามกับครูได้
2. รู้จักที่มาของแอปเปิ้ลได้
3. รู้จัก จำนวนบวก ลบเลขอย่างง่ายได้
สาระสำคัญ
เด็กรู้ที่มาของแอปเปิ้ล
เนื้อหา
การเจริญเติบโตและการแพร่พันธุ์ แอปเปิ้ลมีการแพร่พันธุ์โดยต้องอาศัยสิ่งต่างๆ พาไป ได้แก่ มนุษย์ ใช้วิธีการตอนกิ่ง เมล็ด จากตรงกลางของแอปเปิ้ลมีเมล็ดเอามาปลูก แมลง จากดอกแอปเปิ้ลต้องอาศัยผึ้งและแมลงในการช่วยผสมเกสรต้นแอปเปิ้ลเป็นพืชล้มลุก ต้นแอปเปิ้ลจะออกผลใน 3 – 4 ปี ต้นสูง 5 – 12 เมตร
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูให้เด็กท่องคำคล้องจอง “แม่ค้าแอปเปิ้ล”
ขั้นสอน
2. ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับที่มาของแอปเปิ้ล โดยใช้คำถามดังนี้
- เด็กๆเคยเห็นแอปเปิ้ลที่ไหนบ้างค่ะ
- ถ้าเด็กๆไปตลาดเด็กๆอยากได้แอปเปิ้ลเด็กๆจะทำอย่างไรค่ะ
- ถ้าเด็กมีเงิน 3 บาท แอปเปิ้ลลูกละ 5 บาท เด็กๆจะต้องเพิ่มเงินเท่าไรค่ะ
3. ครูนำภาพแอปเปิ้ลมาอธิบายให้เด็กฟัง
ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กร่วมกันสรุปการเจริญเติบโตของแอปเปิ้ลและร่วมกันท่องคำคล้องจอง
5. ครูแลเด็กร่วมกันสรุปประโยชน์ของแอปเปิ้ล
สื่อ
1. คำคล้องจ้อง “แม่ค้าแอปเปิ้ล”
2. รูปภาพแอปเปิ้ล
การประเมินผล
1. สังเกตการตอบคำถาม
2. สังเกตการแสดงความคิดเห็น
คำคล้องจอง
แม่ค้าแอปเปิ้ลแม่ค้า
แม่ค้า แอปเปิ้ล ซื้อ หนึ่ง สอง สาม
ราคาเท่าไร ขอซื้ออีกที
สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ
แอปเปิ้ลกลิ้งตก รีบเก็บไว ไว
กิจกรรม แอปเปิ้ลมาจากไหน
ผู้สอน นางสาวสุวารี หอมรองบน
จุดประสงค์
1. ร่วมสนทนาและตอบคำถามกับครูได้
2. รู้จักที่มาของแอปเปิ้ลได้
3. รู้จัก จำนวนบวก ลบเลขอย่างง่ายได้
สาระสำคัญ
เด็กรู้ที่มาของแอปเปิ้ล
เนื้อหา
การเจริญเติบโตและการแพร่พันธุ์ แอปเปิ้ลมีการแพร่พันธุ์โดยต้องอาศัยสิ่งต่างๆ พาไป ได้แก่ มนุษย์ ใช้วิธีการตอนกิ่ง เมล็ด จากตรงกลางของแอปเปิ้ลมีเมล็ดเอามาปลูก แมลง จากดอกแอปเปิ้ลต้องอาศัยผึ้งและแมลงในการช่วยผสมเกสรต้นแอปเปิ้ลเป็นพืชล้มลุก ต้นแอปเปิ้ลจะออกผลใน 3 – 4 ปี ต้นสูง 5 – 12 เมตร
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูให้เด็กท่องคำคล้องจอง “แม่ค้าแอปเปิ้ล”
ขั้นสอน
2. ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับที่มาของแอปเปิ้ล โดยใช้คำถามดังนี้
- เด็กๆเคยเห็นแอปเปิ้ลที่ไหนบ้างค่ะ
- ถ้าเด็กๆไปตลาดเด็กๆอยากได้แอปเปิ้ลเด็กๆจะทำอย่างไรค่ะ
- ถ้าเด็กมีเงิน 3 บาท แอปเปิ้ลลูกละ 5 บาท เด็กๆจะต้องเพิ่มเงินเท่าไรค่ะ
3. ครูนำภาพแอปเปิ้ลมาอธิบายให้เด็กฟัง
ขั้นสรุป
4. ครูและเด็กร่วมกันสรุปการเจริญเติบโตของแอปเปิ้ลและร่วมกันท่องคำคล้องจอง
5. ครูแลเด็กร่วมกันสรุปประโยชน์ของแอปเปิ้ล
สื่อ
1. คำคล้องจ้อง “แม่ค้าแอปเปิ้ล”
2. รูปภาพแอปเปิ้ล
การประเมินผล
1. สังเกตการตอบคำถาม
2. สังเกตการแสดงความคิดเห็น
คำคล้องจอง
แม่ค้าแอปเปิ้ลแม่ค้า
แม่ค้า แอปเปิ้ล ซื้อ หนึ่ง สอง สาม
ราคาเท่าไร ขอซื้ออีกที
สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ
แอปเปิ้ลกลิ้งตก รีบเก็บไว ไว
(วันที่ 4)
กิจกรรม น้ำแอปเปิ้ลปั่น
ผู้สอน นางสาวเพลินพิศ มั่งมูล
จุดประสงค์
1. ร่วมทำกิจกรรมกับครูและเพื่อน ๆ ได้
2. ร่วมสนทนากับครูและผู้อื่นได้
3. บอกรสชาติของน้ำแอปเปิ้ลปั่นได้
สาระสำคัญ
แอปเปิ้ลคือผลไม้ชนิดหนึ่งที่สามารถนำมารับประทานได้แอปเปิ้ลนำมาทำประโยชน์ได้หลายอย่างเช่น เครื่องดื่ม และขนม
เนื้อหา
เด็กได้เรียนรู้การทำน้ำผลไม้ปั่นจากลูกแอปเปิ้ล
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจองแอปเปิ้ล
ขั้นสอน
2. นำแอปเปิ้ลของจริงสนทนากับเด็ก
3. นำแอปเปิ้ลสีเขียวกับแอปเปิ้ล สีแดงมาสนทนากับเด็กโดยใช้คำถามดังนี้
- เด็กจะเลือกแอปเปิ้ลสีอะไรทำน้ำปั่นดีค่ะ
- ทำไมเอาสีนี้ค่ะ
- ให้ครูใส่แอปเปิ้ลกี่ชิ้นดีค่ะ
- น้ำเชื่อมกี่ช้อนดีค่ะ
- น้ำแข็งกี่แก้วดีค่ะ
- เกลือเท่าไรดีค่ะ
- จะกดเครื่องปั่นกี่ครั้งค่ะ
ขั้นสรุป
4. เด็กสามารถบอกปริมาณของส่วนประสมได้
5. เด็กสามารถบอกรสชาติของน้ำแอเปิ้ลได้
6. ครูและเด็กร่วมกันตั้งชื่อน้ำปั่น
สื่อ
1. เครื่องปั่นผลไม้
2. แอปเปิ้ล
3. มีด
4. เขียง
5. น้ำแข็ง
6. แก้วน้ำ
7. หลอด
8. น้ำหวาน
การประเมินผล
1. สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม
2. สังเกตการณ์ตอบคำถาม
3. สังเกตการแสดงความคิดเห็น
กิจกรรม น้ำแอปเปิ้ลปั่น
ผู้สอน นางสาวเพลินพิศ มั่งมูล
จุดประสงค์
1. ร่วมทำกิจกรรมกับครูและเพื่อน ๆ ได้
2. ร่วมสนทนากับครูและผู้อื่นได้
3. บอกรสชาติของน้ำแอปเปิ้ลปั่นได้
สาระสำคัญ
แอปเปิ้ลคือผลไม้ชนิดหนึ่งที่สามารถนำมารับประทานได้แอปเปิ้ลนำมาทำประโยชน์ได้หลายอย่างเช่น เครื่องดื่ม และขนม
เนื้อหา
เด็กได้เรียนรู้การทำน้ำผลไม้ปั่นจากลูกแอปเปิ้ล
กิจกรรม
ขั้นนำ
1. ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจองแอปเปิ้ล
ขั้นสอน
2. นำแอปเปิ้ลของจริงสนทนากับเด็ก
3. นำแอปเปิ้ลสีเขียวกับแอปเปิ้ล สีแดงมาสนทนากับเด็กโดยใช้คำถามดังนี้
- เด็กจะเลือกแอปเปิ้ลสีอะไรทำน้ำปั่นดีค่ะ
- ทำไมเอาสีนี้ค่ะ
- ให้ครูใส่แอปเปิ้ลกี่ชิ้นดีค่ะ
- น้ำเชื่อมกี่ช้อนดีค่ะ
- น้ำแข็งกี่แก้วดีค่ะ
- เกลือเท่าไรดีค่ะ
- จะกดเครื่องปั่นกี่ครั้งค่ะ
ขั้นสรุป
4. เด็กสามารถบอกปริมาณของส่วนประสมได้
5. เด็กสามารถบอกรสชาติของน้ำแอเปิ้ลได้
6. ครูและเด็กร่วมกันตั้งชื่อน้ำปั่น
สื่อ
1. เครื่องปั่นผลไม้
2. แอปเปิ้ล
3. มีด
4. เขียง
5. น้ำแข็ง
6. แก้วน้ำ
7. หลอด
8. น้ำหวาน
การประเมินผล
1. สังเกตการณ์เข้าร่วมกิจกรรม
2. สังเกตการณ์ตอบคำถาม
3. สังเกตการแสดงความคิดเห็น
วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2552
งานวิจัยคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ความเป็นมา- การพัฒนาคนเป็นจุดมุ่งหมายหลักของการพัฒนา โดยเฉพาะเด็กซึ่งเป็นเป้าหมายที่สำคัญในการพัฒนาศักยภาพของคน เพราะเด็กคืออนาคตของครอบครัว ของชุมชนและของประเทศชาติ ความหวังของประเทศชาติขึ้นอยู่กับคุณภาพของเด็กที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้พัฒนาประเทศต่อไป เด็กในช่วงปฐมวัยเป็นระยะที่สำคัญที่สุดของการพัฒนาทั้งร่างกาย สติปัญญา สังคม และบุคลิกภาพ ประสบการณ์ที่เด็กได้รับในช่วงนี้มีอิทธิพลมากต่อการเสริมสร้างพื้นฐานความพร้อมสำหรับพัฒนาขั้นต่อไป การวางรากฐานที่ดีของชีวิตต้องวางที่ตัวทรัพยากรบุคคล ที่ส่งผลกระทบที่ดีในระยะยาวมากกว่าการปลูกฝังสร้างเสริมในช่วงอื่นของชีวิตช่วงอายุที่ปูพื้นฐานได้ดีที่สุดคือวัยต่ำกว่า 6 ขวบเป็นช่วงที่มีการพัฒนาสติปัญญาสูง การจัดการศึกษาให้เด็กในวัยนี้จึงเป็นการเตรียมเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีพร้อมจะเป็นพลเมืองที่ชาติต้องการ แก้ปัญหาของชาติบ้านเมืองได้ เด็กในช่วงปฐมวัยเหมาะสมในการวางรากฐานและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ เด็กทุกคนจะต้องได้รับการสนองตอบขั้นพื้นฐานเพื่อให้การพัฒนาดำเนินไปในทุกด้านให้บรรลุถึงศักยภาพของความเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์และสามารถใช้ชีวิตอย่างมีประโยชน์ต่อตนเองและสังคม หากมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กซึ่งสามารถเรียนอะไรก็ได้เมื่อมีความพร้อมและความสำเร็จในชีวิตของเด็กขึ้นอยู่กับการเตรียมความพร้อมเป็นสำคัญ การจัดการเรียนให้ตรงกับสติปัญญาของเด็กจะช่วยให้เด็กที่เสียเปรียบด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสริมสร้างพัฒนาการด้านลักษณะนิสัยและสังคมนิสัย และลดการซ้ำชั้นในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 แต่ถ้าให้เด็กเรียนโดยที่ยังไม่มีความพร้อมนอกจากจะไม่ประสบผลสำเร็จแล้วอาจทำให้เด็กเกลียดโรงเรียน กลัวครู เบื่อหน่าย เฉื่อยชา ขาดความสนใจในการเรียน แบบฝึกความพร้อมเป็นสื่อที่ครู ผู้ปกครองนิยมใช้กันมากเพราะเป็นการส่งเสริมพัฒนาการและเตรียมความพร้อมให้กับเด็กโดยเฉพาะ การให้เด็กทำแบบฝึกหัดจะช่วยเพิ่มแรงกระตุ้นและช่วยปลูกฝังและส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีนิสัยใฝ่ศึกษาอย่างมีระบบและเป็นข้อมูลย้อนกลับให้แก่ผู้เรียน ซึ่งจะแสดงถึงจุดเด่นจุดด้อยของแต่ละบุคคลในเนื้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะการฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่เป็นนามธรรมเข้าใจยากจึงจำเป็นต้องมีการฝึกทักษะมาก เพื่อที่จะนำไปใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์อยู่ตลอดเวลา คณิตศาสตร์จึงเป็นประสบการณ์ที่ต้องจัดให้กับเด็ก ความสามารถของเด็กในวิชาคณิตศาสตร์ยังไม่อาจเทียบกับมาตรฐานการเรียนรู้ของชาติอื่นได้ การเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กก่อนวัยเรียนจึงเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่น่าจะได้ผลดี นอกจากนี้แบบฝึกยังมีลักษณะรูปแบบที่สะดวกต่อการใช้สามารถนำติดตัวเพื่อใช้ในการฝึกทักษะได้ และสะดวกในการจัดหา มีพิมพ์จำหน่ายเป็นจำนวนมากตามร้านหนังสือทั่วไปและได้รับความสนใจมากจากครูและผู้ปกครองจากเหตุผลดังกล่าวจึงสนใจที่จะศึกษาวิเคราะห์รูปลักษณ์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนเนื้อหาของแบบฝึกที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530-2538 และเปรียบเทียบกับเกณฑ์ของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อครู ผู้ปกครอง ผู้แต่งและสำนักพิมพ์แนวคิดทฤษฎี-
วัตถุประสงค์
1. เพื่อวิเคราะห์รูปลักษณ์และเนื้อหาของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530 ถึง 2538
2. เพื่อเปรียบเทียบแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530 ถึง 2538 กับเกณฑ์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนสมมุติฐานการวิจัย
-ระเบียบวิธีวิจัย
- การวิจัยเชิงสำรวจ
ประชากร/กลุ่มตัวอย่างประชากร
เป็นแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530-2538 จำนวน 220 เล่มกลุ่มตัวอย่าง เป็นแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 159 เล่ม โดยพิจารณาตามรายชื่อและเกณฑ์การเลือกกลุ่มตัวอย่าง1. เป็นหนังสือสำหรับเด็กวัยก่อนเรียนที่พิมพ์เป็นภาษาไทย2. พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530 ถึง 2538 โดยระบุชื่อสำนักพิมพ์ที่ชัดเจน3. เป็นแบบฝึกเด็กให้พร้อมที่จะเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การคัดเลือกข้อใดข้อหนึ่งดังนี้3.1 ในคำนำของหนังสือมีข้อความบอกว่าเป็นหนังสือเพื่อเตรียมความพร้อมหรือปูพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กวัยก่อนเรียน หรือ3.2 พิจารณาจากเนื้อหาในหนังสือและคัดเลือกเฉพาะที่เป็นแบบฝึก เพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ตัวแปร
-นิยามศัพท์-
1 แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ หมายถึง แบบฝึกที่เตรียมเด็กให้พร้อมในการเรียนคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นหนังสือที่พิมพ์ โดยโรงพิมพ์ของหน่วยงานรัฐบาลที่มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาก่อนภาคบังคับ หรือพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เอกชน จุดประสงค์ของหนังสือเพื่อเตรียมความพร้อมด้านการเรียนหรือประสบการณ์ทางการเรียน ด้านทักษะเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2 เกณฑ์ของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เกณฑ์ของ แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ด้านรูปลักษณ์และเกณฑ์ของแบบฝึกความพร้อมด้านเนื้อหา
3 รูปลักษณ์ของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ข้อมูลทั่วไปของแบบฝึก การจัด รูปเล่ม ตัวอักษรที่ใช้ ภาพประกอบที่ใช้ และการนำเสนอเนื้อหาแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์
4 เนื้อหาของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ หมายถึง สิ่งที่แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนได้เสนอให้กับเด็ก ซึ่งปรากฏอยู่ในวัตถุประสงค์ของผู้แต่งและกิจกรรม ที่ใช้ฝึกในแต่ละครั้งหรือแต่ละตอน
5 เด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เด็กวัย 2 ถึง 6 ขวบ เป็นวัยที่กำลังเรียนอยู่ในระดับอนุบาล ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการเตรียมความพร้อมทางการเรียนก่อนจะเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
-
แบบสอบถามโดยการตรวจสอบและการเติมคำ และตารางวิเคราะห์แบบฝึกความพร้อมทาง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนวิธีการรวบรวมข้อมูล
-
การวิเคราะห์ข้อมูล
-
ค่าร้อยละ
สรุปผลวิจัย
- ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ผลการวิเคราะห์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนปรากฏผลดังนี้
1.1 ด้านรูปลักษณ์
1.1.1 ข้อมูลทั่วไป แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่ จัดพิมพ์เป็นชุดโดยสำนักพิมพ์เอกชน ผู้แต่งเป็นคณะ ราคาตั้งแต่ 6 ถึง 48 บาท
1.1.2 การจัดรูปเล่ม แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่มีรูปเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ขนาด 8 หน้ายก จำนวน 32 หน้าขึ้นไป เย็บเล่มโดยวิธีเย็บอก หน้าปกเป็นกระดาษอาร์ตเคลือบสารเคมี ภาพหน้าปกเป็นภาพวาดการ์ตูนสี่สี
1.1.3 ตัวอักษร ส่วนใหญ่เป็นสีดำ ขนาด 24-48 ปอยท์ พื้นหลังตัวอักษร เป็นสีขาว
1.1.4 ภาพประกอบ ส่วนใหญ่เป็นภาพวาดการ์ตูน ใช้กระดาษปอนด์ในการพิมพ์เนื้อหา
1.1.5 นำเสนอเนื้อหา แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนทุกเล่มมีชื่อของแบบฝึกหรือมีจุดมุ่งหมายของผู้แต่งสอดคล้องกับเนื้อหาภายในเล่ม เนื้อหามีความสัมพันธ์กับเนื้อหาในแบบฝึกทักษะเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์ตามแนวการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาล ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มีภาพประกอบเหมาะสมกับคำสั่ง ลักษณะของคำสั่งเป็นการให้ทำเครื่องหมายตามคำสั่ง
2. เมื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์กับเกณฑ์ปรากฏผลดังนี้
2.1 ด้านรูปลักษณ์ของแบบฝึกความพร้อม ส่วนใหญ่จะสอดคล้องกับเกณฑ์ ซึ่งเป็นความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ คือ มีการจัดพิมพ์เป็นชุด รูปเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ขนาด 8 หน้ายก เย็บเล่มโดยวิธีเย็บอก หน้าปกเป็นกระดาษอาร์ต ภาพปกเป็นภาพวาดการ์ตูนสี่สี ตัวอักษรสีดำ ขนาด 24-48 ปอยท์ พื้นหลังตัวอักษรเป็นสีขาว ภาพประกอบเป็นภาพวาดการ์ตูน มีชื่อของแบบฝึกหรือจุดมุ่งหมายของผู้แต่งสอดคล้องกับเนื้อหาภายในเล่ม เนื้อหามีความสัมพันธ์กับเนื้อหาของการฝึกทักษะเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์ตามแผนการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาล ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มีภาพประกอบเหมาะสมกับคำสั่ง ลักษณะของคำสั่งเป็นการให้ทำเครื่องหมายตามคำสั่ง ด้านรูปลักษณ์ของแบบฝึกความพร้อมที่ไม่สอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ คือ หน้าปกที่เคลือบด้วยสารเคมี จำนวนหน้าที่มากกว่า 32 หน้า และการใช้กระดาษปอนด์พิมพ์เนื้อหาภายในเล่ม
2.2 ด้านเนื้อหา เนื้อหาแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนมีความสอดคล้องกับเกณฑ์ ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ที่พบมาก คือ เนื้อหาในการฝึกความเข้าใจความหมายของตัวเลข จำนวน การบวก การลบและสัญลักษณ์ต่าง ๆ และการฝึกใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ ซึ่งมีถึง ร้อยละ 81.27 และร้อยละ 72.45 ตามลำดับ และที่พบน้อย คือ เนื้อหาในการฝึก ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดชั่งตวงและคาดคะเนซึ่งมีเพียง ร้อยละ 4.41
ข้อเสนอแนะ
-
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1.1 สำนักพิมพ์และผู้แต่งควรจะผลิตหนังสือ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของพัฒนาการและความต้องการของเด็กมากกว่าจะคำนึงถึงความต้องการของผู้ใหญ่
1.2 สำนักพิมพ์และผู้แต่งควรผลิตแบบฝึกสำหรับเด็ก ซึ่งเป็นแบบฝึกที่เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเอง
1.3 ผู้แต่งควรจะนำเสนอเนื้อหาในลักษณะที่ให้อิสระให้เด็กได้ฝึกคิด ได้ค้นหา
1.4 ผู้แต่งควรจะนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมที่ดึงดูดความสนใจ ของเด็กมากกว่านำเสนอในรูปของแบบฝึกหัดที่ประกอบแบบเรียน
1.5 สำนักพิมพ์ควรจะรักษาคุณภาพในด้านต่าง ๆ ของการผลิต
1.6 ครูและผู้ปกครองควรศึกษาคำอธิบายวิธีใช้แบบฝึกให้เกิดความเข้าใจตรงกันกับจุดมุ่งหมายของผู้แต่ง
2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการวิเคราะห์กลวิธีในการเขียนแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ในเรื่องการจัดลำดับเนื้อหา วิธีการนำเสนอเนื้อ
2.2 ควรมีการพัฒนาแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ในด้านรูปลักษณ์ เนื้อหา และวิธีการนำเสนอเนื้อหา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อวิเคราะห์รูปลักษณ์และเนื้อหาของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530 ถึง 2538
2. เพื่อเปรียบเทียบแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530 ถึง 2538 กับเกณฑ์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนสมมุติฐานการวิจัย
-ระเบียบวิธีวิจัย
- การวิจัยเชิงสำรวจ
ประชากร/กลุ่มตัวอย่างประชากร
เป็นแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนที่พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530-2538 จำนวน 220 เล่มกลุ่มตัวอย่าง เป็นแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 159 เล่ม โดยพิจารณาตามรายชื่อและเกณฑ์การเลือกกลุ่มตัวอย่าง1. เป็นหนังสือสำหรับเด็กวัยก่อนเรียนที่พิมพ์เป็นภาษาไทย2. พิมพ์จำหน่ายระหว่างปีพุทธศักราช 2530 ถึง 2538 โดยระบุชื่อสำนักพิมพ์ที่ชัดเจน3. เป็นแบบฝึกเด็กให้พร้อมที่จะเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การคัดเลือกข้อใดข้อหนึ่งดังนี้3.1 ในคำนำของหนังสือมีข้อความบอกว่าเป็นหนังสือเพื่อเตรียมความพร้อมหรือปูพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กวัยก่อนเรียน หรือ3.2 พิจารณาจากเนื้อหาในหนังสือและคัดเลือกเฉพาะที่เป็นแบบฝึก เพื่อเตรียมความพร้อมทางคณิตศาสตร์ตัวแปร
-นิยามศัพท์-
1 แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ หมายถึง แบบฝึกที่เตรียมเด็กให้พร้อมในการเรียนคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นหนังสือที่พิมพ์ โดยโรงพิมพ์ของหน่วยงานรัฐบาลที่มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาก่อนภาคบังคับ หรือพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เอกชน จุดประสงค์ของหนังสือเพื่อเตรียมความพร้อมด้านการเรียนหรือประสบการณ์ทางการเรียน ด้านทักษะเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2 เกณฑ์ของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เกณฑ์ของ แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ด้านรูปลักษณ์และเกณฑ์ของแบบฝึกความพร้อมด้านเนื้อหา
3 รูปลักษณ์ของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ข้อมูลทั่วไปของแบบฝึก การจัด รูปเล่ม ตัวอักษรที่ใช้ ภาพประกอบที่ใช้ และการนำเสนอเนื้อหาแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์
4 เนื้อหาของแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ หมายถึง สิ่งที่แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนได้เสนอให้กับเด็ก ซึ่งปรากฏอยู่ในวัตถุประสงค์ของผู้แต่งและกิจกรรม ที่ใช้ฝึกในแต่ละครั้งหรือแต่ละตอน
5 เด็กก่อนวัยเรียน หมายถึง เด็กวัย 2 ถึง 6 ขวบ เป็นวัยที่กำลังเรียนอยู่ในระดับอนุบาล ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการเตรียมความพร้อมทางการเรียนก่อนจะเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
-
แบบสอบถามโดยการตรวจสอบและการเติมคำ และตารางวิเคราะห์แบบฝึกความพร้อมทาง คณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนวิธีการรวบรวมข้อมูล
-
การวิเคราะห์ข้อมูล
-
ค่าร้อยละ
สรุปผลวิจัย
- ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ผลการวิเคราะห์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนปรากฏผลดังนี้
1.1 ด้านรูปลักษณ์
1.1.1 ข้อมูลทั่วไป แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่ จัดพิมพ์เป็นชุดโดยสำนักพิมพ์เอกชน ผู้แต่งเป็นคณะ ราคาตั้งแต่ 6 ถึง 48 บาท
1.1.2 การจัดรูปเล่ม แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนส่วนใหญ่มีรูปเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ขนาด 8 หน้ายก จำนวน 32 หน้าขึ้นไป เย็บเล่มโดยวิธีเย็บอก หน้าปกเป็นกระดาษอาร์ตเคลือบสารเคมี ภาพหน้าปกเป็นภาพวาดการ์ตูนสี่สี
1.1.3 ตัวอักษร ส่วนใหญ่เป็นสีดำ ขนาด 24-48 ปอยท์ พื้นหลังตัวอักษร เป็นสีขาว
1.1.4 ภาพประกอบ ส่วนใหญ่เป็นภาพวาดการ์ตูน ใช้กระดาษปอนด์ในการพิมพ์เนื้อหา
1.1.5 นำเสนอเนื้อหา แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนทุกเล่มมีชื่อของแบบฝึกหรือมีจุดมุ่งหมายของผู้แต่งสอดคล้องกับเนื้อหาภายในเล่ม เนื้อหามีความสัมพันธ์กับเนื้อหาในแบบฝึกทักษะเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์ตามแนวการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาล ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มีภาพประกอบเหมาะสมกับคำสั่ง ลักษณะของคำสั่งเป็นการให้ทำเครื่องหมายตามคำสั่ง
2. เมื่อเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์แบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์กับเกณฑ์ปรากฏผลดังนี้
2.1 ด้านรูปลักษณ์ของแบบฝึกความพร้อม ส่วนใหญ่จะสอดคล้องกับเกณฑ์ ซึ่งเป็นความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ คือ มีการจัดพิมพ์เป็นชุด รูปเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ขนาด 8 หน้ายก เย็บเล่มโดยวิธีเย็บอก หน้าปกเป็นกระดาษอาร์ต ภาพปกเป็นภาพวาดการ์ตูนสี่สี ตัวอักษรสีดำ ขนาด 24-48 ปอยท์ พื้นหลังตัวอักษรเป็นสีขาว ภาพประกอบเป็นภาพวาดการ์ตูน มีชื่อของแบบฝึกหรือจุดมุ่งหมายของผู้แต่งสอดคล้องกับเนื้อหาภายในเล่ม เนื้อหามีความสัมพันธ์กับเนื้อหาของการฝึกทักษะเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์ตามแผนการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาล ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มีภาพประกอบเหมาะสมกับคำสั่ง ลักษณะของคำสั่งเป็นการให้ทำเครื่องหมายตามคำสั่ง ด้านรูปลักษณ์ของแบบฝึกความพร้อมที่ไม่สอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ คือ หน้าปกที่เคลือบด้วยสารเคมี จำนวนหน้าที่มากกว่า 32 หน้า และการใช้กระดาษปอนด์พิมพ์เนื้อหาภายในเล่ม
2.2 ด้านเนื้อหา เนื้อหาแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียนมีความสอดคล้องกับเกณฑ์ ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ที่พบมาก คือ เนื้อหาในการฝึกความเข้าใจความหมายของตัวเลข จำนวน การบวก การลบและสัญลักษณ์ต่าง ๆ และการฝึกใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างตากับมือ ซึ่งมีถึง ร้อยละ 81.27 และร้อยละ 72.45 ตามลำดับ และที่พบน้อย คือ เนื้อหาในการฝึก ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดชั่งตวงและคาดคะเนซึ่งมีเพียง ร้อยละ 4.41
ข้อเสนอแนะ
-
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1.1 สำนักพิมพ์และผู้แต่งควรจะผลิตหนังสือ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของพัฒนาการและความต้องการของเด็กมากกว่าจะคำนึงถึงความต้องการของผู้ใหญ่
1.2 สำนักพิมพ์และผู้แต่งควรผลิตแบบฝึกสำหรับเด็ก ซึ่งเป็นแบบฝึกที่เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเอง
1.3 ผู้แต่งควรจะนำเสนอเนื้อหาในลักษณะที่ให้อิสระให้เด็กได้ฝึกคิด ได้ค้นหา
1.4 ผู้แต่งควรจะนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมที่ดึงดูดความสนใจ ของเด็กมากกว่านำเสนอในรูปของแบบฝึกหัดที่ประกอบแบบเรียน
1.5 สำนักพิมพ์ควรจะรักษาคุณภาพในด้านต่าง ๆ ของการผลิต
1.6 ครูและผู้ปกครองควรศึกษาคำอธิบายวิธีใช้แบบฝึกให้เกิดความเข้าใจตรงกันกับจุดมุ่งหมายของผู้แต่ง
2. ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการวิเคราะห์กลวิธีในการเขียนแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ในเรื่องการจัดลำดับเนื้อหา วิธีการนำเสนอเนื้อ
2.2 ควรมีการพัฒนาแบบฝึกความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ในด้านรูปลักษณ์ เนื้อหา และวิธีการนำเสนอเนื้อหา
เรื่องเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย L O 1.4.3/6
การสอนส่วนมากจะเกี่ยวกับการร้องเพลงเพลงที่สอนเด็กปฐมวัยมีเนื้อร้องที่ช่วยพัฒนาและให้ความรู้แก่เด็กหลายด้านเช่น
1. ด้านร่างกายหรือด้านพลานามัยในการสอนนี้ผู้สอนต้องใช้ท่าทางประกอบ เนื่องจากชอบการเคลื่อนไหวไม่ชอบอยู่นิ่ง ในการร้องเพลงควรทำท่าประกอบด้วย เด็กจะได้ทำท่าตามครูหรือคิดขึ้นเอง
1. ส่งเสริมด้านการออกกำลังกาย เช่น
เพลงกายบริหาร
กำมือขึ้นแล้วหมุน หมุน ชูมือขึ้นโบกไปมา (ซ้ำ)
กางแขนขึ้นและลง พับแขนขึ้นแตะไหล่
กาวแขนขึ้นและลง ชูขึ้นตรงหมุนไปรอบตัว
ผู้แต่ง ครีนวล รัตนสุวรรณ
2. ปลูกฝังด้านสุขนิสัยเช่น
เพลง แปรงฟัน
แปรงซิ แปรง แปรงฟัน ฟันหนูสวยสะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลงทุกที่ สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน
ผู้แต่ง เตือนใจ ศรีมารุต
เพลงอย่าทิ้ง
อย่าทิ้ง อย่างทิ้ง อย่าทิ้ง ทิ้งแล้วจะสกปรก
ถ้าเราเห็นมันรก ต้องเก็บ ต้องเก็บ ต้องเก็บ
ผู้แต่ง เตือนใจ ศรีมารุ
2. ด้านอารามณ์ ขณะที่เด็กร่วมร้องเพลงหรือทำท่าทาง เด็กมีอาการร่างเริงแจ่มใสสนุกสนาน ดวงตาเป็นประกายอย่างมีความสุขเมื่อเขาทำได้ เพลงจะช่วยคลายเครียด มีความสดชื่นบางเพลงทำให้สนุกเช่น
เพลง ตุ๊บป่อง
ติง ตลิง ติงต๊อง เรือเราลอย ตุ๊บป่อง
ลอยไปตามน้ำไหล ลอยไป ลอยไป ในคลอง
ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง
ผู้แต่ง ฐะปะนีย์ นาครทรรพ
3. ด้านสังคม เด็กมาโรงเรียนจะต้องเข้าสังคมใหม่ และสถานที่ใหม่ เพื่อนใหม่ ครู หรือคนอื่นๆ สิ่งที่จัช่วยให้เด็กคุ้นเคย และเข้ากับผู้อื่นได้ก็ใช้เพลงเป็นสื่อ ช่วยให้เด็กสนิทสนม กับครูและเพื่อน เนื้อเพลงที่ร้องเช่น
เพลงสวัสดี
สวัสดี สวัสดี ยินดีที่พบกัน
เธอกับฉัน พบกันสวัสดี
ผู้แต่ง ศรีนวล รัตนสุวรรณ
4. ด้านสติปัญญา เพลงช่วยให้มีความรู้ และเข้าใจเรื่องราวต่างๆ ได้ดี ช่วยให้จำได้เร็วกว่า การบอกเล่า ฝึกให้รู้จักคิดและได้ความรู้เช่ย
คณิตศาสตร์ ช่วยให้เด็กมีความเข้าใจ และจดจำเกี่ยวกับจำนวน หรือความหมายขอบงคำ ทางคณิตศาสตร์เช่น
เพลงนกกระจิบ
นั่นนกบินมาลิบๆ นกกระจิบ 1,2,3,4,5
อีกฝูงบินล่องลอยมา 6,7,8,9,10ตัว
ผู้แต่ง ศรีนวล รัตนสุวรรณ
เพลง แม่ไก่ออกไข่
แม่ไก่ออกไข่วันละฟอง ไข่วันละฟอง ไข่วันละฟอง
แม่ไก่ของฉันไข่ทุกวัน หนึ่งวันได้ไข่หนึ่งฟอง
2 วันได้ไข่ 2ฟอง จนถึง10ฟอง
ผู้แต่งศรีนวล รัตนสุวรรณ
เห็นไหมค่ะเพื่อนๆ เพลงมีคุณค่าแก่เด็กมากมายการที่เด็กได้ร้องเพลง ได้ทำท่า
ตามเนื้อเพลงหรือตามจังหวะ จะช่วยไม่ให้เด็กเบื่อการเรียน ทั้งช่วยให้ทุกส่วนของกล้ามเนื้อ ตลอดจน ตา หู มือ เท้า มีความคล่องว่องไว และช่วยพัฒนาร่างกายของเด็กได้ดี อีกทั้งได้รับความสนุกสนานและความรู้ด้วย
ที่มา เอกสารประกอบการอบรมอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก
1. ด้านร่างกายหรือด้านพลานามัยในการสอนนี้ผู้สอนต้องใช้ท่าทางประกอบ เนื่องจากชอบการเคลื่อนไหวไม่ชอบอยู่นิ่ง ในการร้องเพลงควรทำท่าประกอบด้วย เด็กจะได้ทำท่าตามครูหรือคิดขึ้นเอง
1. ส่งเสริมด้านการออกกำลังกาย เช่น
เพลงกายบริหาร
กำมือขึ้นแล้วหมุน หมุน ชูมือขึ้นโบกไปมา (ซ้ำ)
กางแขนขึ้นและลง พับแขนขึ้นแตะไหล่
กาวแขนขึ้นและลง ชูขึ้นตรงหมุนไปรอบตัว
ผู้แต่ง ครีนวล รัตนสุวรรณ
2. ปลูกฝังด้านสุขนิสัยเช่น
เพลง แปรงฟัน
แปรงซิ แปรง แปรงฟัน ฟันหนูสวยสะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลงทุกที่ สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน
ผู้แต่ง เตือนใจ ศรีมารุต
เพลงอย่าทิ้ง
อย่าทิ้ง อย่างทิ้ง อย่าทิ้ง ทิ้งแล้วจะสกปรก
ถ้าเราเห็นมันรก ต้องเก็บ ต้องเก็บ ต้องเก็บ
ผู้แต่ง เตือนใจ ศรีมารุ
2. ด้านอารามณ์ ขณะที่เด็กร่วมร้องเพลงหรือทำท่าทาง เด็กมีอาการร่างเริงแจ่มใสสนุกสนาน ดวงตาเป็นประกายอย่างมีความสุขเมื่อเขาทำได้ เพลงจะช่วยคลายเครียด มีความสดชื่นบางเพลงทำให้สนุกเช่น
เพลง ตุ๊บป่อง
ติง ตลิง ติงต๊อง เรือเราลอย ตุ๊บป่อง
ลอยไปตามน้ำไหล ลอยไป ลอยไป ในคลอง
ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง
ผู้แต่ง ฐะปะนีย์ นาครทรรพ
3. ด้านสังคม เด็กมาโรงเรียนจะต้องเข้าสังคมใหม่ และสถานที่ใหม่ เพื่อนใหม่ ครู หรือคนอื่นๆ สิ่งที่จัช่วยให้เด็กคุ้นเคย และเข้ากับผู้อื่นได้ก็ใช้เพลงเป็นสื่อ ช่วยให้เด็กสนิทสนม กับครูและเพื่อน เนื้อเพลงที่ร้องเช่น
เพลงสวัสดี
สวัสดี สวัสดี ยินดีที่พบกัน
เธอกับฉัน พบกันสวัสดี
ผู้แต่ง ศรีนวล รัตนสุวรรณ
4. ด้านสติปัญญา เพลงช่วยให้มีความรู้ และเข้าใจเรื่องราวต่างๆ ได้ดี ช่วยให้จำได้เร็วกว่า การบอกเล่า ฝึกให้รู้จักคิดและได้ความรู้เช่ย
คณิตศาสตร์ ช่วยให้เด็กมีความเข้าใจ และจดจำเกี่ยวกับจำนวน หรือความหมายขอบงคำ ทางคณิตศาสตร์เช่น
เพลงนกกระจิบ
นั่นนกบินมาลิบๆ นกกระจิบ 1,2,3,4,5
อีกฝูงบินล่องลอยมา 6,7,8,9,10ตัว
ผู้แต่ง ศรีนวล รัตนสุวรรณ
เพลง แม่ไก่ออกไข่
แม่ไก่ออกไข่วันละฟอง ไข่วันละฟอง ไข่วันละฟอง
แม่ไก่ของฉันไข่ทุกวัน หนึ่งวันได้ไข่หนึ่งฟอง
2 วันได้ไข่ 2ฟอง จนถึง10ฟอง
ผู้แต่งศรีนวล รัตนสุวรรณ
เห็นไหมค่ะเพื่อนๆ เพลงมีคุณค่าแก่เด็กมากมายการที่เด็กได้ร้องเพลง ได้ทำท่า
ตามเนื้อเพลงหรือตามจังหวะ จะช่วยไม่ให้เด็กเบื่อการเรียน ทั้งช่วยให้ทุกส่วนของกล้ามเนื้อ ตลอดจน ตา หู มือ เท้า มีความคล่องว่องไว และช่วยพัฒนาร่างกายของเด็กได้ดี อีกทั้งได้รับความสนุกสนานและความรู้ด้วย
ที่มา เอกสารประกอบการอบรมอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)